ภาษาสิงหล
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาสิงหล (සිංහල siṁhala) | ||||
---|---|---|---|---|
พูดใน: | ประเทศศรีลังกา | |||
จำนวนคนพูดทั้งหมด: | 15 ล้านคน | |||
ตระกูลของภาษา: | อินโด-ยูโรเปียน อินโด-อิเรเนียน อินโด-อารยัน ทางใต้ สิงหล-มัลดีเวียน ภาษาสิงหล |
|||
ระบบการเขียน: | อักษรสิงหล (พัฒนามาจากอักษรตระกูลพราหฺมี) | |||
สถานะทางการ | ||||
ภาษาราชการของ: | ประเทศศรีลังกา | |||
องค์กรควบคุม: | ไม่มี | |||
รหัสภาษา | ||||
ISO 639-1: | si | |||
ISO 639-2: | sin | |||
ISO/DIS 639-3: | sin | |||
|
ภาษาสิงหล (Sinhala หรือ Sinhalese, เดิม Singhalese) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกัยภาษาดิเวฮิของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน